วันพุธที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2553

CLASS VII

M - Commerce (Mobile – Commerce)

            คือภาคธุรกิจที่ดำเนินการตามแนวคิด E – Commerce คือการทำธุรกิจซื้อขายสินค้า หรือให้บริการผ่านทางอุปกรณ์ไร้สาย เช่น มือถือ PDAs เนื่องจากอุปกรณ์เหล่านี้ได้รับการพัฒนาให้ง่ายต่อการใช้งาน และสามารถเชื่อมต่อ internet ได้ จึงเป็นอีกช่องทางหนึ่งสำหรับการทำธุระกิจ

ความสำคัญของ E – Commerce

-         Ubiquity – สามารถใช้งานได้ทุกที ทุกเวลา
-         Convenience – ความสะดวกในการใช้งาน เนื่องจากปัจจุบันโทรศัพท์เคลื่อนที่สามารถต่อ internet ได้ทุกที่ และยังรวดเร็วขึ้นมาก
-         Instant Connectivity – สามารถติดต่อผ่าน internet ได้อย่างรวดเร็วทำให้การติดต่อซื้อขายเป็นไปได้ในทันที รวดเร็วและ ต่อเนื่อง
-         Personalization – สามารถปรับปรุง ตกแต่งได้ตามความต้องการของผู้ใช้งาน
-         Localization of Product and Service – สามารถใช้ระบุตำแหน่ง หรือเส้นทางผ่านทางระบบ GPS ได้
ตัวอย่าง ของ M – Commerce
1.     Mobile Banking
2.     Information Based Service
3.     Location Based Service
4.     Mobile Shopping
5.     Mobile Marketing and Advertising
ปัจจัยขับเคลื่อนของ M- Commerce
-         Widespread availability devices หาซื้อได้ทุกที่
-         No Need for a PC เช่น smart phone หรือ tablet ต่างๆ
-         Handset Culture วัฒนธรรมของคนใช้มือถือที่ต้องการให้เป็นมากกว่ามือถือ
-         Declining prices, Increased Functionalities ราคาถูกลง แต่ ความสามารถมากขึ้น
-         Centrino Chip พัฒนาของChipset ในมือถือที่ทำให้เครื่องทำงานได้รวดเร็วขึ้น รวมไปถึงกินไฟน้อยลง
-         Networks 3G, 4G, WIFI, EDGE

M – Commerce Business Models

-         Usage Fee Models
-         Shopping Business Models
-         Marketing Business Models
-         Improved Efficiency Models
-         Advertising Business Models (Flat fees, Traffic-Based fees)
-         Revenue – Sharing Business Models

ตัวอย่างเทคโนโลยีของมือถือในปัจจุบัน
-         โครงสร้างเครือข่าย
1.     3G, 4G – ระบบโครงข่ายไร้สายที่เชื่อมต่อกันผ่านทางคลื่นวิทยุ แทน ซึ่งปัจจุบันมีความเร็วที่สูงมากๆ (1000mbps เป็นมาตรฐานของ 4G ในปัจจุบัน) ทำให้ผู้ใช้งานสามารถติดต่อสื่อสารกันได้หลายหลายรูปบบมากขึ้นเช่น การส่ง วีดีโอคอล การรับส่งไฟล์ต่างๆ ก็ทำได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
2.     WLAN หรือ ระบบ Wireless หรือการเชื่อต่อ internet แบบ ไร้สาย
3.     EDGE คือการเชื่อมต่อสัญญาณinternet โยนใช้โครงข่ายของคลื่นโทรศัพท์แทนการต่อแบบ WLAN
-         การพัฒนา sim card – ในปัจจบัน sim card ได้รับการพัฒนาที่จะทำให้รองรับข้อมูลต่างๆได้มากขึ้น เช่น รหัสเข้าบัญชีธนาคาร รหัสประจำตัวประชาชน หรือ ประวัติพื้นฐานต่างๆ จึ่งมีการพัฒนาระบบต่างๆเข้ามาใช้ควบคู่กัน ไม่ว่าจะเป็น RFID ใช้ในรูปแบบ touch sim ในการชำระสินต้าหรือค่าบริการต่างๆ
-         ระบบปฏิบัติการต่างๆบนมือถือ เนื่องจากระบบเก่าๆ อย่าง Linux หรือ Sympian หล้าหลังไปมากแล้ว เพราะรองรับความต้องการในการใช้งานปัจจุบันไม่ได้ ทำให้มีการพัฒนาระบบปฏิบัติการต่างๆ หรือ OS ต่างๆ ขึ้นมารองรับการใช้งานตาม life style ของคนยุคปัจจุบัน หรือที่เราเรียกว่า Smart Phone มีระบบต่างๆ ที่สำคัญดังนี้
1.     IOS เป็นระบบที่ทำขึ้นมาของ apple ใน Iphone รุ่นต่างๆ ซึ่งปัจจุบันได้พัฒนามาจนถึงรุ่น IOS 4.2 แล้ว เรียกได้ว่า เป็นระบบผู้นำในยุคนี้เลยก็ว่าได้ นอกจากจะรองรับ application ต่างๆ ได้มากถึงหลายแสน app แล้ว ยัง มีความสามารถต่างๆ เช่น ระบบ multi task เป้นต้น นากจากนี้ มันยังเป็นระบบปิด ซึ่งรับประกันได้ ไวรัสและ สแปม ต่างๆ หาได้ยากมากๆ
2.     Android เรียกว่าเป็นน้องใหม่ไฟแรง จาก google  ซึ่งมีการเปิดตัวมาไม่นาน แต่ก็มีการพัฒนาการไปได้อย่างรวดเร็ว จุดเด่นของมันคือเปนระบบเปิด ซึ่งนักสร้างโปรแกรม สามารถนำไปพัฒนาเองได้ แต่ ต้องนำมาขายคืนให้กับ google เท่านั้น ซึ่งทำให้มี รูปบบที่หลากหลาย เรียกได้ว่าสามารถ customize ได้ตามใจ แต่ข้อเสียของมันคือ ไวรัส และสแปม ก็เยอะเหมือนกัน
3.     BB OS หรือ Blackberry OS ซึ่งทาง RIM ได้พัฒนาออกมาเพื่อใช้ในโทรศัพท์  Blackberry นั่นเอง ซึ่งจุดเด่นของมันแน่นอนว่าอยู่ที่การ chat ไม่ว่าจะเป็น BBM MSN Twitter Facebook และ อื่นๆ อีกมาก นอกจากนี้ ยังรองรับ การ รับส่ง e-mail ได้อย่างว่องไว และสะดวกกว่าเจ้าอื่นๆ เหมาะ กับ นักธุรกิจ ที่ต้องการรับส่งไฟล์ หรือ email อยู่ตลอดเวลา

วันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Class VI

E-Business and E-Commerce

            คือ การทำธุรกิจบนระบบ Internet เพื่อเพิ่มช่องทางใหม่ในการติดต่อซื้อขาย และเพิ่มความสะดวกให้แก่ทั้งเจ้าของธุรกิจ และ ลูกค้า ซึ่งปัจจุบันธุรกิจในลักษณะนี้มีแนวโน้มที่จะขยายตัวสูงขึ้น

ตัวอย่าง องค์กรในรูปแบบ E-Business และ E-Commerce

Dell – ใช้ระบบแบบ E-Commerce ซึ่งสามารให้ลูกเค้าเข้ามาสั่งสินค้า แบบ ระบุความต้องการได้ เช่นลุกค้าต้องการ Notebook สเปกต่างๆ ก็จะดำเนินการผลิตตามที่ลูกค้า customize มา ทำให้สามารถตั้งราคาสูงได้ แต่คู่แข่งของ Dell ยังขายสินค้าตามหน้าร้าน

E-Bay – เป็นเว็ปไซต์ที่ใช้ในการประมูลสินค้าต่างๆ ซึ่งผู้ที่ต้องการจะขายสินค้านั้นๆ จะขายสินค้าได้ในราคาสูงขึ้น เนื่องจากมีการแข่งขันในของผู้ซื้อ ซึ่งจะแย่งกันประมูลในสินค้านั้นๆ มากกว่าการขายทอดตลาดแบบทั่วไป

Amazon – เป็นเว็ปไซต์ขายสินค้าต่างๆ ซึ่งเริ่มแรกมาจากการขายหนังสือผ่านระบบออนไลน์ เนื่องจาก การเปิดหน้าร้านทำให้ไม่สามารถเก็บหนังสือได้ทั้งหมด เก็บไว้ได้แต่พวก best seller เท่านั้น ซึ่งตรงจุดนี้ ทำให้สามารถเก็บหนังสือหายาก หรือ พวกที่ไม่ค่อยมีคนอ่านไว้ได้ (long tail marketing)

Click & Mortar – คือธุรกิจที่มารขายทั้งออนไลน์และมีหน้าร้านด้วย
Brick & Mortar – คือธุรกิจที่มีการขายแค่หน้าร้านอย่างเดียว หรือ แค่แบบ ออนไลน์เพียงอย่างเดียว

E-Commerce Model

Affiliate Marketing – คือการสร้างlinkของธุรกิจคื่นขึ้นในเว็ปไซต์ของเรา และเมื่อมีการซื้อขายเกิดขึ้นจากlink นั้นๆเราจะได้รับส่วนแบ่งจากการขายด้วย

Bartering Online – เป็นการเปิดเว็บไซต์เสรี ซึ่งเป็นตัวกลางเปิดให้มีการตกลงแลกเปลี่ยนต่างๆผ่านเว็บไซต์ของเราเอง เช่น Craigslist.com

Online Advertisers, Marketers and Students เช่น Facebook.com

Company – Sponsored Socially Oriented Sites เช่น Blogger

Application Programming Interface (API) – เป็นการให้ยืม service ของโปรแกรมๆนึงที่บริษัทนั้นผลิตขึ้นเพื่อให้นักพัฒนาสามารถเข้าถึงการสร้างโปรแกรมนั้นๆได้ เช่น Iphone โดยนักพัฒนาของบริษัทต่างๆต้องมี API ของทาง Apple ก่อนจึงจะสามารถสร้างแอพต่างๆของตัวเองได้ ตัวอย่างเช่น “True vision app”

Benefit of E-Commerce
1.     ส่วนขยายฐานลูกค้าได้มากขึ้น รวมไปถึงการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการต่างๆ
2.     เพิ่มช่องทางที่หลากหลายมากขึ้นของลูกค้าในการติดต่อซื้อสินค้า พร้อมทั้งลดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร
3.     เชิ่อมโยงสังคมต่างๆ ทั่วโลกให้เข้าหากันได้ ทำให้ประหยัดทั้งเวลาและต้นทุนการเดินทาง
4.     ให้บริการได้ตลอดเวลา 24 ชม.

Limitation of E-Commerce
1.     มาตรฐานด้านเทคโนโลยี เช่น กลุ่มผู้ใช้สูงอายุ ที่ไม่มีความรู้ด้าน Internet
2.     ความปลอดภัยของข้อมูลอาจไม่สูงมากนักเพราะต้องคอยระวัง นัก hacker

ตัวอย่างของรูปแบบต่างๆของ E-Commerce
1.     E-Catalog – การนำเสนอสินค้าต่างๆให้เลือกสรรได้บนเว็ปไซต์
2.     E-Auction – เปิดประมูลบน Internet ทำให้คนทั่วโลกสามารถร่วมกันประมูลได้
3.     Bartering – เปิดให้คนทั่วโลกได้ติดต่อแลกเปลี่ยนสิ่งของที่ต่างคนต่างต้องการ
4.     Customer Service Online ระบบบริการลูกค้าออนไลน์ ทำให้ลดต้นทุนในการไปตั้งศุนย์ตามต่างประเทศ
5.     E-Classifieds – PayPal
6.     Electronic Malls Msn Shopping, We love Shopping, Allibaba
7.     Travel Service – Expedia, Carnival, Travelocity

วันพุธที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Class V

Technology and Economic trends and the productivity paradox

            Moore’s Lawคาดว่าการทำงานของ CPU จะทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้นแบบทวีคูณ ทุกๆ เดือนในขณะที่ต้นทุนยังคงที่ โอกาสที่องค์กรจะซื้อของดีในราคาที่ถูกมีมากขึ้น ส่งผลให้อัตราส่วนของ Point of performance มีการลดลงแบบ exponential จนเมื่อถึงจุดอิ่มตัวที่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปจนต้องเปลี่ยนไปใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ

            Productivity Paradoxคือความขัดแย้ง ระหว่างอัตราการพัฒนาด้าน IT ที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วแต่การพัฒนาด้านอื่นๆ ไม่เทียบเท่า ซึ่งมีปัจจัยต่างๆที่ทำให้เกิดปัญหาได้ดังนี้
1.     Productivity gain วัดได้ยากไม่สามารถแสดงผลให้เห็นได้ชัดเจน
2.     Productivity gain จากการลงทุนด้าน IT ไปหักลบกับการเสียโอกาสในการลงทุนด้านอื่นๆ
3.     การลงทุนในระบบ IT ต้องใช้งบสูงแต่เห็นผลช้า
4.     ประโยชน์ที่ได้รับจริงๆอาจจะไม่เท่ากับที่คาดการไว้เนื่องจากปัจจัยต่างๆ เช่นด้านกฏหมายเป็นต้น
ถึงแม้ จะมีข้อเสียจำนวนมากแต่ Productivity Paradox ก็ยังมีความจำเป็นอยู่เนื่องจาก
1.     สามารถเพิ่มผลิต ลดต้นทุน ทำให้ได้กำไรมากขึ้น (Direct Impact)
2.     ทำให้ภาพลักษณ์องค์กรดีขึ้น (Second Order Impact)


Justify IT Investment
เนื่องจากการลงทุนด้าน IT นั้น ต้องใช้งบประมาณสูง จึงจำเป็นต้องมีการพิจารณาอย่างถี่ถ้วนเสียก่อน โดยอาจวิเคราะห์จากหลัก Cost and Benefit Analysis และต้องมีการประเมินและติดตามผลอยู่เสมอๆ แต่ในบางครั้งก็ไม่จำเป็นต้องพิจารณาอะไรมากเนื่องจากข้อบังคับทางกฏหมายเช่น การวางโครงสร้างพื้นฐานขององค์กร ซึ่งช่วยสร้างภาพลักษณ์ที่ได้ให้กับองค์กรอีกด้วย


IT justification process
1.     หาเครื่องมือวัดผลที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
2.     ประเมิณให้เข้าใจได้ง่าย และเป็นลายลักษณ์อักษร
3.     คำนวนทางเลือกต่างๆรวมไปถึงความเสี่ยง
4.     ประเมินว่าสอดคล้องกะกลยุทธ์ขององค์กรหรือไม่
5.     ประเมินต้นทุนให้ถูกต้อง และติดต่อประสานงานให้ดี


Intangible Benefitผลกำไรที่จับต้องเป็นตัวเงินไม่ได้ เช่น ความพึงพอใจของลุกค้า ทำให้ประเมนได้ยากขึ้น

Costing IT Investmentแบ่งเป็น fixed cost (การลงทุนในส่วนของ infrastructure) และ transaction cost (ซึ่งเป็นการลงทุนหลังจาก install ระบบลงไปแล้ว ได้แก่ 1.ต้นทุนด้านการค้นหาลูกค้าและสินค้า บริการต่างๆ 2. ต้นทุนด้านข้อมูลต่างๆของสินค้า 3.ต้นทุนด้านการเจรจากับลุกค้า 4.ต้นทุนด้านการตัดสินใจทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย 5. ต้นทุนในการ ติดตามบริการหลังการขายและคุณภาพของสินค้าหลังจากซื้อไป)

Cost and Benefit Analysisเป็นการวิเคราะห์ว่าเราลงทุนไปคุ้มค่าหรือไม่ โดยมี2ขั้นตอนคือ
1.     Identifying and Estimating all cost and benefit
2.     Expressing these cost and benefit in common unit

Cost and Benefit Evaluation Techniques
1.      Focus only Net Profit
2.     Focus only Payback period
3.     Focus only ROI (Return of Investment)
4.     NPV (Net Present Value) – อาจมีปัญหาในการพิจารณาเนื่องจาก discount rate ได้
5.     IRR (Interest Rate of Return)

Advance Method for Justifying IT investment and Using IT Metrics

1.     Business caseจัดทำเอกสารประเมินทางเลือกของ IT โดยเน้นให้เห็นมุมมองหลากหลายมุม
2.     Total cost (and benefit) of Ownershipคำนวนต้นทุนตลอกอายุการใช้งาน ซึ่งแบ่งต้นทุนออกเป็น 3 กลุ่มคือ
-         Acquisition Cost
-         Operation Cost
-         Control cost
วิธีนี้อาจทำควบคู่ไปกับ Total benefit of Ownership ไปด้วยเพื่อหาค่าตอบแทนรวมที่จะได้รับ
3.     Benchmarks เปรียบเทียบกับค่าเฉลียอุตสาหกรรมหรือบริษัทที่ดำเนินงานได้ดีที่สุด
4.     Balance Scorecardโดยแบ่งออกเป็นมุมมองด้านต่างๆได้ 4 มุมมองดังนี้
-         Customer Perspectives
-         Financial Perspectives
-         Internal Process Perspectives
-         Learning and Growth Perspective


Managerial Issues
1.     Constant growth and changeต้องพร้อมที่จะรับความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของ IT
2.     Shift from tangible to intangible benefitsปรับเปลี่ยนหน้ำหนักความสำคัยจากด้านการเงานเพียงด้านเดียวเป็นด้านคุณภาพด้วย
3.     Not a sure thing – ต้องมีการวัดอย่างสม่ำเสมอว่าสิ่งที่ใช้อยู่นั้นยังทำงานได้อย่างมีประสทิธิภาพและเหมาะสมกับองค์กรอยู่หรือไม่ เพราะเมื่อมีเทคดนโลยีใหม่ๆเข้ามา อาจส่งผลกระทบให้ ของเดิมนั้น ไม่เหมาะกับองคืกรก็เปนได้
4.     Riskพิจารณาถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ ซึ่งต้องมีการจัดลำดับความสำคัญและเตรียมวิธีจัดการกับความเสี่ยงนั้นได้
5.     How to measure the value of IT investment? สรรหาวิธีใช้วัดผลว่าวิธีไหนเหมาะสมมากที่สุด
6.     Who should conduct a justification?ควรตัดสินใจว่าจะเลือกระบบ IT แบบไหนซึ่งแต่เดิมจะเป็นความรับผิดชอบของผ่ายการเงินแต่ปัจจุบันนั้นจะเป็น Steering Committee และยังมีผู้เชี่ยวชาญจากภายน้องช่วยประเมินด้วย